THE BASIC PRINCIPLES OF ป้องกันศัตรูพืช

The Basic Principles Of ป้องกันศัตรูพืช

The Basic Principles Of ป้องกันศัตรูพืช

Blog Article

อ่านฉลากกำกับโดยตลอดให้เข้าใจก่อนใช้และต้องปฏิบัติตามคำเตือนและข้อควรระวังโดยเคร่งครัด (ดังภาพ)

เกี่ยวกับองค์กร ความเป็นมาวัตถุประสงค์/เป้าหมายแนวทางพระราชทานสัญลักษณ์องค์กรรางวัลและความสำเร็จคณะกรรมการมูลนิธิฯ

            การเพาะปลูกในระบบเกษตรอาจมีปัญหาแมลงศัตรูพืชระบาดได้ เช่น เพราะสมดุลระบบนิเวศของฟาร์มหรือแปลงปลูกอาจสูญเสียไปด้วยเหตุบางประการ ดังนั้นเกษตรกรจะต้องหมั่นสำรวจและสังเกตการเปลี่ยนแปลงของประชากรแมลงศัตรูพืช และศัตรูธรรมชาติว่าอยู่ในภาวะสมดุลหรือไม่ ซึ่งในระบบนิเวศการเกษตรที่สมดุลจะต้องมีทั้งแมลงศัตรูพืชและศัตรูธรรมชาติอยู่ จากนั้นเกษตรกรจะต้องประเมินว่าระบบนิเวศฟาร์มยังคงมีสมดุลของประชากรศัตรูพืชและศัตรูธรรมชาติอยู่หรือไม่ ในกรณีที่ระบบนิเวศยังสมดุล เกษตรกรไม่ควรดำเนินการใด ๆ ทั้งนี้เพราะความพยายามกำจัดแมลงศัตรูพืช หรือศัตรูพืชตามธรรมชาติในขณะที่นิเวศการเกษตรมีความสมดุลอยู่แล้ว อาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสมดุล (เสียสมดุล) ในทิศทางที่ทำให้ประชากรของศัตรูพืชระบาดเพิ่มขึ้น

แก้ไขต้นฉบับ]

หรือจะใช้วิธีการทางธรรมชาติโดยใช้น้ำหมักชีวภาพมาเป็นตัวช่วยก็ได้ ซึ่งแต่ละวิธีนั้นก็มีทั้งข้อดีและข้อเสียที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งวิธีป้องกันนั้นอาจจะเป็นการบรรเทาเพื่อป้องกันได้ชั่วคราว แต่ก็ถือว่ายังดีกว่าไม่ทำอะไรเลย ซึ่งเกษตรกรเองก็ต้องมีวิธีการปรับเปลี่ยนเพื่อเป็นการรับมือกับแมลงศัตรูพืชด้วยเช่นกัน

สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน)

(ข) การปลูกพืชหมุนเวียน หลักการสำคัญในการปลูกพืชหมุนเวียนคือ การเลือกปลูกพืชที่ไม่ใช่พืชพาหะหรือพืชที่เป็นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตที่เป็นศัตรูของพืชหลัก การปลูกพืชหมุนเวียนในลักษณะนี้จะทำให้ประชากรของศัตรูพืชลดลง เพราะขาดแหล่งอาหารและที่อยู่อาศัย เมื่อเกษตรกรปลูกพืชหลักในฤดูการเพาะปลูกถัดไป โรคและแมลงศัตรูพืชก็จะลดลง ดังนั้นการปลูกพืชหมุนเวียนจึงเป็นการป้องกันศัตรูที่ง่ายและมีประสิทธิภาพสูง

การกำจัดด้วยวิธีชีวภาพ เช่น การใช้สมุนไพร, การเลี้ยงขยายพันธุ์ศัตรูธรรมชาติ และการใช้สารธรรมชาติอื่น ๆ เพื่อกำจัดแมลงศัตรูพืช และศัตรูพืชตามธรรมชาติ

ฝากกดลิงก์เยี่ยมชมสินค้า เพื่อเป็นกำลังใจให้ทีมงานของเราด้วยนะคะ????

หน่วยงานภายใน โครงสร้างองค์กร สถานีวิจัย/เกษตรหลวง ศูนย์พัฒนาโครงการหลวง ศูนย์วิจัยฯ ชนกาธิเบศรดำริ สถาบันการเรียนรู้มูลนิธิโครงการหลวง  ● เชียงใหม่  ● กรุงเทพฯ

ประเภท ผักกินใบ มีอะไรบ้าง? พร้อมเทคนิคการปลูกให้ได้ผลผลิตตลอดปี

การจำแนกตามชนิดของศัตรูพืชที่ต้องการควบคุม

แบบฟอร์มรายงานผลงานวิจัยโครงการวิจัยสิ้นสุดที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอก

สมัครสมาชิก ลืมรหัสผ่าน check here คำถามที่พบบ่อย

Report this page